Welcome to my blogger

วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16

Science Experiences Management for Early Childhood 
Teachert. Jintana Suksamran

Tueday ,December 2 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )
          สำหรับวันนี้เพื่อนได้นำเสนอTHAI TEACHER TV , RESEARCH ต่อดังนี้
RESEARCH
 - ผลการจัดประสบการณ์ที่เน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 -การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
 - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่ได้รับการจัดประสบการรณ์แบบโครงการและแบบสืบเสาะหาความรู้
- การคิดพิจารณาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
- การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางธรมชาติเนื้อสิ่งแวดล้อมของเด็กปฐมวัย
- ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ธรรมชาติที่มีการจัดประสบการณ์ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
THAI TEACHER TV
 - เรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
- เสียงในการได้ยิน  เรื่องราวของเสียง  
 - จิตวิทยาศาตร์  การทำอย่างไรให้เด็กมีจิตวิทยาศาสตร์ การสร้างบรรยากาศการเรียน


         หลังจากนั้นอาจารย์ให้นักศึกษานั่งตามกลุ่มที่เคยทำแผน 5 คน แล้วช่วยกันทำแผ่นพับเรื่องสายสัมพันธ์ผู้ปกครองและนักเรียน โดยแจกกระดาษให้นักศึกษาทุกคนทำ แล้วเลือกอันที่ดีที่สุดส่งอาจารย์เพียง 1 แผ่นค่ะ

สิ่งที่จะนำไปพัฒนา ( What Will Be Furher Developedl )
          เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมได้ในอนาคต  และยังนำแนวทางการเขียน การทำแผ่นพับไปปรับใช้ในอนาคตได้อีก

การประเมินผล ( Evaluation )
          ตนเอง  ( Self ) ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอวิจัยและโทรทัศท์ครู และตั้งใจแผ่นพับ คะ

         เพื่อน  ( Friends ) ตั้งใจเรียนและตั้งใจนำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ดีมากคะ ไม่ค่อยคุยกัน

         อาจารย์  (Teacher ) อาจารย์มีคำแนะนำในการเสนอทุกครั้งทำให้เราเข้าได้และเข้าใจได้ถูกต้อง อาจารย์มักมีกิจกรรมใหม่ๆมานำเสนอให้เด็กอยู่เสมอดีมากคะ




วันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

Science Experiences Management for Early Childhood 
Teachert. Jintana Suksamran

Tueday , November 25 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )
           สำหรับวันนี้เพื่อนได้นำเสนอTHAI TEACHER TV , RESEARCH ต่อดังนี้
คนที่ 1 นางสาวธิดามาศ ศรีปาน  เรื่อง การกำเนิดของเสียง ( THAI TEACHER TV )
         ได้ฝึกทักษะการคิด การทดลอง การใช้คำถามกับเด็ก เช่น เสียงต่างกันอย่างไร มาจากไหน

คนที่ 2 นางสาววรรนิศา  นวลสุข  วิจัยผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย   
          การเรียนรู้เรื่องสี คือสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก  สิ่งที่อยู่ตามธรรมชาติ เช่น ผัก ผลไม้ ดอกไม้นิยามศัพท์ ได้ทักษะการสังเกต  จำแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์  ทักษะการลงความเห็น

คนที่ 3 นางสาวสารอาหารในชีวิตประจำวัน (THAI TEACHER TV.)
         การเรียนรู้ การปรุงอาหารเกิดจากการผสมส่วนประกอบของอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างถูกต้องตามชื่ออาหารนั้นให้ได้รสที่ต้องการ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ปรุงอาหารเป็น รู้จักรสอาหาร เช่น เค็ม เปรี้ยว หวาน สนุกกับการทำงานร่วมกับเพื่อน

คนที่ 4 นางสาวไฟฟ้าและพันธุ์พืช (THAI TEACHER TV).
         สอนเรื่องการเจริญเติบโตของพืช โดยใช้สื่อการเรียนรู้ยอกห้องเรียน และให้นักเรียนสังเกตการณ์เจริญเติบโตของพืช จากนั้น ให้เด็กทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องไฟฟ้าและพันธุ์พืช ซึ่งจากการที่เด็กได้ลงมือทำแล้ว มีสื่อ มีอุปกรณ์ให้เด็กได้ทำการทดลองเด็กก็จะเกิดทักษะกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์

คนที่ 5 นางสาวศิริวิมล หมั่นสนธิ์ งานวิจัยการเสริมประสบการณ์เรื่องแสงที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย  
         กิจกรรมส่งให้แสวงหาความรู้เกี่ยวกับทักษะความรู้ ซึ่งแสงได้อยู่รอบๆตัวเรา และนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องของแสง  เพื่อพัฒนาและส่งเสริมทักษะของเด็กปฐมวัย

คนที่ 6 นางสาว  งานวิจัยการพัฒนาทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ด้วยกิจกรรมทำเครื่องดื่มสมุนไพร
          ทักษะในวิจัยนี้ มีทักษะการสังเกต การจะแนก การสื่อความหมายของข้อมูล เด็กจะได้ทักษะทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น

         จากนั้นได้ทำกิจกรรม Cooking Waffle  
อุปกรณ์และส่วนผสม
  1. ไข่ไก่ ( Egg )
  2. เนย ( Butter )
  3. แป้ง ( Powder )
  4. น้ำ ( Water )
  5. ถ้วย ( Cup ) 
  6. ช้อน ( Spoon )
วิธีทำ Waffle
     1.เริ่มผสมแป้งและตอกไข่ ใส่เนย เติมน้ำทีละนิด แล้วตีแป้งและส่วนประกอบอื่นๆให้เข้ากัน จนได้เนื้อแป้งที่ไม่เหลวและแข็งจนเกินไป
     2.เมื่อได้แป้งตามที่ต้องการ ตักใส่ถ้วยตวงเพื่อนำไปอบ ขณะเทแป้งลงเครื่องอบ ควรเทตรงกลางเพื่อให้แป้งสามารถกระจายได้ทั่วถึง เมื่ออบเสร็จแล้วจะได้ วอฟเฟิล น่าตาน่าทานค่ะ 


       การทำWaffle เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก เพราะ เด็กสามารถลงมือทำด้วยด้วยตนเอง ได้ และเด็กได้เรียนรู้การสังเกต และการใช้ประสาทสัมผัสด้วยจากตาดู หูฟัง จมูกได้กลิ่น และได้ชิมรสและเด็กๆยังเกิดความสนุกสนานที่ได้ลงมือปฎิบัติอีกด้วย แต่ทั้งนี้การทำกิจกรรมควรมีครูหรือผู้ปกครองเป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด


สิ่งที่จะนำไปพัฒนา ( What Will Be Furher Developedl )

          การนำความรู้เกี่ยวกับวิจัยและการทดลองจากโทรทัศน์ครูไปเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ และนำการทำอาหารไปใช้สอนเด็กได้ในวันข้างหน้า

การประเมินผล ( Evaluation )
          ตนเอง  ( Self ) ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอวิจัยและโทรทัศท์ครู และตั้งใจทำกิจกรรม CookingWaffle  เป็นอย่างมากเพราะรู้สึกสนุกและอิ่มด้วยคะชอบมากคะ

         เพื่อน  ( Friends ) ก็ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังเพื่อนที่นำเสนอดีคะ ไม่ค่อยคุยกันและให้ความร่วมมือดีมากในการทำ กิจกรรมCookingWaffle

         อาจารย์  (Teacher ) อาจารย์ให้คำแนะนำเพิ่มเติมเพื่อนที่ไปนำเสนอ เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น และอาจารย์ได้นำกิจกรรม Cooking  Waffle มาสอนอีกด้วยสนุกมากคะ ทำให้เราได้ความรู้เกี่ยวกับการทำWaffle เพื่อไปใช้ในการสอนเด็กได้ในอนาคตด้วยคะ ชอบมาก



บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

Science Experiences Management for Early Childhood 
Teachert. Jintana Suksamran

Tueday , November 18 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )
          สำหรับวันนี้ อาจารย์ได้ให้เพื่อนนำเสนอการสอนต่อจากครั้งที่แล้ว
กลุ่มที่7 หน่วยนกหงษ์หยก
           สอนเรื่องชนิดและลักษณะของนกหงศ์หยก


กลุ่มที่8 หน่วยสับปะรด (กลุ่มของดิฉัน)
             สอนเรื่องประโยชน์และข้อควรระวังของสับปะรด โดยมีนิทานเรื่อง "น้องหนูนากับสับปะรด"เป็นสื่อการสอน ให้เด็กสนุกและสนใใจยิ่งขึ้น


กลุ่มที่9 หน่วยส้ม
            สอนเรื่องประโยชน์การแปรรูปของส้ม


          หลังจากนำเสนอการสอนแผนเสร็จอาจารย์ได้ให้เพื่อนนำเสนอ THAI TEACHER TV , RESEARCH ที่ให้ไปสรุปมาหน้าชั้น ดังนี้
          คนที่ 1  นางสาวกมลชนก หยงสตาร์  เรื่องนมสีกับน้ำยาล้างจาน ที่มาจากYouTube 
          ขั้นตอนการทดลอง ใส่นม-ใส่สีผสมอาหาร-ใส่น้ำยาล้างจาน  หลังจากนั้นสังเกตุปฏิกิริยาในการทดลอง
         ในเรื่องนี้เด็กๆได้เรียนรู้ในการสังเกต การทดลอง

           คนที่ 2 นางสาวจุฑาทิพย์ แก่นแก้ว นำเสนอวิจัย สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับประสาทสัมผัสทั้ง5
          ทักษะที่ได้รับคือ การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ฝึกการสังเกต ฝึกการมอง ฝึกการฟัง ฝึกการดมกลิ่น ฝึกการสัมผัส ฝึกการชิมรสชาติ

          คนที่ 3 นางสาวรัตติพร ชัยยัง  นำเสนองานวิจัย กระบวนการพัฒนาวิทยาศาสตร์พื้นฐานส่งเสริมศิลปะสร้างสรรค์

          คนที่ 4 นางสาวอนุสรา  แก้วชู นำเสนองานวิจัย ผลการเรียนรู้ทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เด็กปฐมวัย
          วิจัยนี้เด็กได้เรียนรู้ทักษะ - การจำแนก  - ทักษะการสื่อความหมาย

          คนที่ 5  นางสาวรัชดาภรณ์  มณีศรี นำเสนอโทรทัศน์ครูกิจกรรมวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยเรื่องหนังสือลอย
          กิจกรรมนี้เด็กได้ทักษะ - การสังเกต  - การจำแนก  - ทักษะการสื่อความหมาย 

         จากนั้นได้ทำกิจกรรม Cooking ทาโกยากิ
         ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สามารถนำไปใช้สอนเด็กๆได้ เพราะขั้นตอนไม่ยุ่งยาก อุปกรณ์และส่วนผสมหาได้ง่าย
         ส่วนผสมมีดังนี้
  1. ไข่ไก่ ( Egg )
  2. ข้าวสวย ( Rice )
  3. ผักต่างๆ ( เช่น แครทCarror / ต้นหอมLeek เป็นต้น หรือ ผักที่เราชอบ )
  4. ปูอัด หรือจะเป็นอย่างอื่นก็ได้ตามใจชอบ
  5. ซอสปรุงรส
  6. เนย ( Better )
   

         วิธีทำ ทาโกยากิ
  1. ให้เด็กหั่นแครอท2แท่ง ปูอัด3เส้น ตั้นหอม1เส้น
  2. ให้เด็กๆเจียวไข่แล้วตักลงถ้วยตัวเองคนละ1ทัพพี
  3. ให้เด็กนำถ้วยที่ใส่ไข่ไปใส่เครื่องปรุง ดังนี้ แครอท1ช้อนชา ปูอัด1ช้อนชา ต้นหอม1ช้อนชา ซอลปรุงรสครึ่งช้อนชา(แล้วแต่ความชอบ) ข้าวเปล่า1ช้อนโต๊ะแล้วคนให้เขากัน
  4. จากนั้นตั้งกระทะให้ร้อนนำเนยใส่เล็กน้อยเพื่อไม่ให้ติดกระทะและให้เด็กๆเททาโกยากิลงกระทาทาโกยากิดูการเปลี่ยนแปลง สังเกตการเปลี่ยนแปลงดูว่าสุกแล้วจะเป็นอย่างไร มีกลิ่นอย่างไร 
  5. จากนั้นเมื่อทาโกยากิสุกนำให้เด็กๆลองชิมทาโกยากิที่เด็กๆทำเอง

          การทำไข่ทาโกยากิเป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก เพราะ เด็กสามารถลงมือทำด้วยด้วยตนเอง ได้ และเด็กได้เรียนรู้การสังเกต และการใช้ประสาทสัมผัสด้วยจากตาดู หูฟัง จมูกได้กลิ่น และได้ชิมรสและเด็กๆยังเกิดความสนุกสนานที่ได้ลงมือปฎิบัติอีกด้วย แต่ทั้งนี้การทำกิจกรรมควรมีครูหรือผู้ปกครองเป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด

สิ่งที่จะนำไปพัฒนา ( What Will Be Furher Developedl )

          การนำแผนการสอนไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัย นำวิธีการสอนไปสอนเด็กในอนาคตนำเทคนิคการสอนของเพื่อนไปพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นในการสอน นำความรู้เกี่ยววิจัยและการทดลองจากโทรทัศน์ครูไปเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ และนำการทำอาหารไปใช้สอนเด็กได้ในวันข้างหน้า

การประเมินผล ( Evaluation )
          ตนเอง  ( Self ) ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอการสอนแผนและจดจำเทคนิคที่ดีของเพื่อนเพื่อ ไปปรับใช้กับการสอนของตนเอง และได้ออกไปนำเสนอแผนของกลุ่มต้นเองด้วยค่ะ และตั้งใจทำกิจกรรม Cooking ทาโกยากิ เป็นอย่างมากเพราะรู้สึกสนุกและอิ่มด้วยคะ

         เพื่อน  ( Friends ) กลุ่มที่นำเสนอก็พยายามสอนดีคะ ส่วนกลุ่มที่ฟังก็ตั้งใจฟังดี และให้ความร่วมมือดีมากในการทำ กิจกรรมCooking ทาโกยากิ

         อาจารย์  (Teacher ) อาจารย์ให้คำแนะนำเพิ่มเติมแต่ละกลุ่มที่ออกไปนำเสนอการสอนและบอกแนวทางแก้ไข เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น และอาจารย์ได้นำกิจกรรม Cooking ทาโกยากิ มาสอนอีกด้วยสนุกมากคะ ทำให้เราได้ความรู้เกี่ยวกับการทาโกยากิเพื่อไปใช้ในการสอนเด็กได้ในอนาคตด้วยคะ ชอบมาก


วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

Science Experiences Management for Early Childhood 
Teachert. Jintana Suksamran

Tueday , November 11 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )
        สำหรับวันนี้ เป็นการออกไปนำเสนอแผนการสอนของแต่ละกลุ่มดังนีั
กลุ่มที่1 หน่วยผลไม้ 
             สอนเรื่องชนิดของผลไม้


กลุ่มที่2 หน่วยแตงโม
              สอนการทำน้ำแตงโมปั่น โดยมีการสาธิตการปั่นน้ำแตงโมให้ดูและให้ไปลองทำด้วย


กลุ่มที่3 หน่วยข้าวโพด
              สอนเรื่องประโยชน์และข้อควรระวังของข้าวโพด ข้าวโพดมีประโยชน์หลายอย่าง สามารถนำมาปรกอบอาหารได้ เช่น ข้าวโพดอบเนย ตำข้าวโพด น้ำมันข้าวโพด เป็นต้น และข้าวโพดยังมีข้อควรระวังอีกด้วย คือ หากรับประทานข้าวโพดมากเกินไปจะทำให้ ท้องผูก ท้องเสียได้


กลุ่มที่4 หน่วยกล้วย
             สอนเรื่องประโยชน์และข้อควรระวังของกล้วย กล้วยมีประโยชน์หลายอย่าง สามารถนำมาประกอบอาหารได้ เช่น กล้วยบวชชี แกงกล้วย กล้วยปิ้ง กล้วยทอด  เป็นต้น และกล้วยมีข้อควรระวังอีกด้วย คือ หากทานกล้วยมากเกินไปจะทำให้ ปวดท้อง และเปลือกกล้วยทำให้เรารื้นล้มได้หากเราเหยียบ


กลุ่มที่5 หน่วยช้าง
              สอนเรื่องชื่อและลักษณะของช้าง


กลุ่มที่6 หน่วยผีเสื้อ
              สอนเรื่องลักษณะของผีเสื้อ


สิ่งที่จะนำไปพัฒนา ( What Will Be Furher Developedl )
          นำความรู้เกี่ยวกับแผนการสอนที่เพื่อนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ ไปปรับใช้ในการเรียนการสอนและนำเทคนิคการสอนไปปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น

การประเมินผล ( Evaluation )
          ตนเอง  ( Self ) ตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอการสอนแผนและจดจำเทคนิคที่ดีของเพื่อนเพื่อ ไปปรับใช้กับการสอนของตนเอง

         เพื่อน  ( Friends ) กลุ่มที่นำเสนอก็พยายามเสร็จสื่อการสอนมาค่อนข้างดีคะ ส่วนกลุ่มที่ฟังก็ตั้งใจฟังดี

         อาจารย์  (Teacher ) อาจารย์ให้คำแนะนำเพิ่มเติมแต่ละกลุ่มและบอกแนวทางแก้ไข เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น


บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

Science Experiences Management for Early Childhood 
Teachert. Jintana Suksamran

Tueday , November 4 , 2557
Time 14.10 To 17.30 pm.

ความรู้ที่ได้รับ ( The Knowledgo Gained )
           สำหรับวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษานั่งตามกลุ่มของตัวเอง  และอธิบายเกี่ยวกับการเขียนแผนการเรียนการสอน  ดังนี้
 1.สาระที่ควรเรียนรู้
 2.เนื้อหา
 3.แนวคิด
 4.ประสบการณ์สำคัญ
 5.บูรณาการรายวิชา
 6.เว็บกิจกรรม 6 กิจกรรม
   6.1กิจกรรมเสริมประสบการณ์
   6.2กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
   6.3กิจกรรมเสรี
   6.4กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
   6.5การเล่นกลางแจ้ง
   6.6เกมการศึกษา
 7.กรอบพัฒนาการ
 8.วัตถุประสงค์

สิ่งที่จะนำไปพัฒนา ( What Will Be Furher Developedl )
          สามารถนำความรู้การเขียนแผนการเรียนการสอน ไปปรับปรุงและแก้ไขเพื่อให้เด็กเกิดพัฒนาการ ทางสติปัญญาและการเรียนรู้ และยังนำไปสอดแทรกกับรายวิชาต่างๆในการเรียนด้วยเพื่อจะได้เขียนแผนได้ถูกต้อง

การประเมินผล ( Evaluation )
          ตนเอง  ( Self )  ตั้งใจเรียน สนใจฟังและจดบันทึกสิ่งที่อาจารย์สอน พูดคุยโต้ตอบกับอาจารย์บ้างในสิ่งที่ไม่เข้าใจ

         เพื่อน  ( Friends ) ตั้งใจฟังอาจารย์สอน แต่มีบ้างช่วงพูดคุยเสียงดัง แต่ก็มีการพูดคุยโต้ตอบกับอาจารย์ดีค่ะ

        อาจารย์  (Teacher ) อาจารย์นำความรู้การเขียนแผนที่ถูกต้องอย่างละเอียดมาอธิบาย เพื่อให้เราได้เขียนแผนได้ถูกต้องเป็นแนวทางเดียวกันดีมากค่ะ

วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

THESIS SUMMERY

สรุปวิจัย

เรื่อง ผลของการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบอาหารกับแบบปกติที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ปรีญญานิพน์ ของ  วไลพร พงษ์ศรีทัศน์.

ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1.        เพื่อศึกษาผลของการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบอาหารและแบบปกติที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
2.        เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบอาหารกับวิธีจัดประสบการณ์แบบปกติ

ความสำคัญของการศึกษาค้นคว้า
                ผลการศึกษาครั้งนี้ทำให้ทราบถึงผลการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งสามารถเป็นแนวทางแก่ครูและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในการเลือกจัดประสบการณ์เพื่อเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

กลุ่มที่เป็นเป้าหมาย
ประชากร เด็กชายหญิง อายุ 4-5 ปีที่กำลังศึกษาในชั้นอนุบาลปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2532 ในโรงเรียนสาธิตในสังกัดกรรมการฝึกหัดครู

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
o   แผนการจัดประสบการณ์แบบปฏิบัติการทดลองประกอบอาหาร
o   แผนการจัดประสบการณ์แบบปกติ
o   แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ประโยชน์ที่ได้รับ
เด็กได้มีประสบการณ์การทำงานเกี่ยวกับการดำรงชีวิตได้การสำรวจทักษะพื้นฐานพัฒนาการในแต่ละด้านของเด็กเกี่ยวกับการทำอาหารที่เป็นกิจกรรมที่ได้จัดการประกอบอาหารสำหรับเด็กปฐมัวยเกิดขึ้นมาเพื่อทราบทักษะที่มีและแนวทางการประเมินพัฒนาการของเด็กในด้านนั้นๆ
สรุปดังนี้
เนื้อหา ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมสื่อสารการเรียนการสอนและวิธีการประเมินผลสำหรับขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมนั้นสามารถแบ่งออกเป็นสามขั้นตอน
ขั้นเตรียม                            
เป็นการนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการสนทนา ถามคำถามตั้งปัญหา ใช้เพลงคำคล้องจอง หรือสื่ออย่างใดอย่างอย่างหนึ่ง เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ
ขั้นปฏิบัติการ                      
นักเรียนปฏิบัติการทดลองประกอบอาหาร โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการเรียนรู้
ขั้นสรุป 
                โดยครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเพื่อนำไปสู่การสรุปผลที่ได้จากการปฏิบัติการ